บุคลากรที่สมดุล (Balanced Workforce) ถือเป็นหนึ่งปัจจัยสำคัญที่
ทำให้องค์กรประสบความสำเร็จ การได้มุมมองที่ หลากหลายจะนำมาซึ่งประสิทธิ ภาพที่ดีขึ้นในการแก้ไขปัญหา รวมถึงความก้าวหน้าทางนวัตกรรม
อย่างไรก็ตาม อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกั
บเทคโนโลยี ( TMT) มักถูกมองว่าขาดความสมดุลทางบุคลากร โดยเฉพาะในแง่เพศสภาวะ โดย รายงานฉบับหนึ่งของ Deloitte Insights ระบุว่าสัดส่วนของผู้หญิงในบริษัทเทคโนโลยีชั้นนำระดับโลกนั้ 25 เปอร์เซ็นต์ ขณะที่บริษัทเทคโนโลยีขนาดเล็นคิดเป็นเพียงราว กกว่าอาจประสบความท้าทายกว่ ามากในการเพิ่มและรั กษาความหลากหลายทางเพศภายในองค์ กร โดยเฉพาะท่ามกลางสถานการณ์โควิด -19 เนื่องด้วยข้อจำกัดด้านทรัพยากร การขาดซึ่งกระบวนการจ้างงานที่ ส่งเสริมความหลากหลายในระดั บองค์กร และการขาดการรายงานข้อมูลด้ านความหลากหลายของบุคลากร
ที่ดีแทค เราพบว่า “ผู้หญิง” เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อส่งมอบประสบการณ์ที่ดีแก่ “สตรีสากล” หรือ International Women’s Day 2022 และส่งเสริมคุณค่าความหลากหลาย ความเท่าเทียม และการมีส่วนร่วมของทุกคน dtacblog จึงขอนำทุกคนมา #BreakTheBias ผ่านการพูดคุยกับ 3 หญิงเก่งแห่งกลุ่มงานเทคโนโลยี ผู้อยู่เบื้องหลังหลากหลายนวัลูกค้ามากขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพื่อร่วมเฉลิมฉลองวัน ตกรรมของดีแทค
ทีมที่สมดุลนำมาซึ่งนวัตกรรม
ไพลิน อิทธิวัฒนกุล - หนูลิน, ปิยนุช ชัยพรแก้ว - นุช, ดร.ธิดา พงศ์สงวนสิน - พลอยคือกำลังสำคัญของทีม Data Analytics แห่งเทคโนโลยีกรุ๊ป นำมาสู่การพัฒนาและแก้ไขปั
ญหาเกี่ยวกับโครงข่ายที่มีประสิ 2573ทธิภาพมากขึ้นผ่านการใช้ดาต้า รวมถึงเป็นกำลังสำคัญในการขั บเคลื่อนการดำเนินงานเพื่ อยกระดับประสิทธิภาพการใช้พลั งงานโครงข่าย จากการรวบรวมข้อมูลสถานีฐานทั่ วประเทศ ภายใต้จุดมุ่งหมายในการลดการปล่ อยก๊าซเรือนกระจกลงครึ่งหนึ่ งภายในปี
ไพลินมีหน้าที่หลักในการวิ
เคราะห์ข้อมูล ส่วนปิยนุชและ ธิดานั้นรับหน้าที่สำคัญในการพั Machine Learning เพื่อตรวจจับจุดบกพร่ฒนาโมเดล องของโครงข่าย ทำให้การซ่อมแซมเกิดขึ้นอย่างทั Net Promoter Score (NPS) หรือเครื่องมือที่ใช้วัดความพึนการณ์ ตลอดจนคาดการณ์แนวโน้ม งพอใจของลูกค้าต่อบริการโครงข่ าย ทำให้สามารถป้องกันปัญหาได้ดี และแม่นยำมากขึ้น
“งานส่วนใหญ่ของทีมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับดาต้า ซึ่งการมีส่วนผสมของทีมงานที่มี Data analytics จะต้องมีการตั้งสมมติฐาน เพื่อให้สามารถหาคำตอบที่สงสัย แล้วหาอินไซต์จากข้อมูลนั้นๆ ออกมา นำไปสู่การแก้ไขปัญหาที่ตรงจุความหลากหลายจะช่วยเติมเต็มจุ ดแข็งซึ่งกันและกันได้ดีมากขึ้น ตัวอย่างเช่น ผู้หญิงจะมีความละเอียดลออค่ อนข้างมาก คิดเยอะ ซึ่งจุดนี้ช่วยเสริมให้เกิ ดการวิเคราะห์ที่ดี เนื่องจากงาน ดมากขึ้น ”ไพลินอธิบาย
วัฒนธรรมองค์กรที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกคน อย่างไรก็ตาม หากมองภาพใหญ่กว่าเรื่องเพศสภาพแล้ว สิ่งสำคัญคือเรื่องวัฒนธรรมองค์ DNA ขององค์กรกรที่เปิดกว้าง ส่งเสริมให้เคารพซึ่งกันและกัน และการมีส่วนร่วมของทุกคน ซึ่งที่ดีแทค ประเด็นดังกล่าวเป็นหนึ่ งในรากฐานสำคัญของการดำเนินธุ รกิจอย่างมีความรับผิดชอบ และสะท้อนอยู่ในวัฒนธรรมและ
“ครั้งหนึ่งมีโอกาสได้เดิ
นทางไปลงพื้นที่ เพื่อสำรวจติดตั้งเสาสัญญาณ ภาพในหัวคิดว่ ” ไพลินเล่าาคนทำงานภาคสนามจะต้องเป็นผู้ ชายแน่ๆ เพราะต้องทำงานตากแดดร้อนๆ แต่พอถึงพื้นที่จริงๆ กลับเป็นพี่ผู้หญิง ขึ้นมอเตอร์ไซค์ทำรังวัด ทะมัดทะแมงมากจริงๆ ทำให้รู้สึกเลยว่าเรื่ องเพศสภาวะไม่ได้เป็นปัญหากั บการทำงานที่ดีแทคเลย
ทั้งสามทำงานร่วมกับสมาชิกในทีมที่ส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย แต่นั่นก็ไม่ได้เป็นอุปสรรคต่ dtac behaviors) เป็นแนวปฏิบัติในการทำงาน ได้แก่ Always Explore(การเรียนรู้อยู่เสมอ), Create Together (การสร้างสรรค์ร่วมกัน), Keep Promises(การรักษาสัญญา) และ Be Respectful (การให้ความเคารพซึ่งกันและกัน) ดังนั้น สมาชิกในทีมจะยึดที่อการทำงานเลย ธิดา บอกว่า สมาชิกในทีมยึดหลักการทำงานพฤติ กรรม 4 ประการของดีแทค ( ผลของการดำเนินงาน และเคารพในสิทธิและความคิดเห็ นของแต่ละบุคคล
การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์แรงงานสายเทคโนโลยี
ทั้งสามคนฉายภาพการเปลี่ยนผ่
านสายงานเทคโนโลยีในมิติ male dominance) อย่างอุตสาหกรรมเทคโนโลยีทางเพศว่า ปัจจุบันสายงานวิศวกรรมมี ความเปิดกว้างมากขึ้น จากในอดีต คนอาจมองว่าผู้หญิงเรียนสู้ผู้ ชายไม่ได้เนื่องจากปัจจั ยทางกายภาพ ตลอดจนค่านิยมทางสังคม ทำให้ผู้หญิงที่เรียนในคณะวิ ศวกรรมมีสัดส่วนที่น้อย แต่ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ผู้หญิงได้แสดงให้เห็นว่าปัจจั ยทางกายภาพไม่ได้มีผลต่อการศึ กษาในคณะวิ ศวกรรมและการทำงานในสายงานที่ถู กมองว่าชายเป็นใหญ่ (
“เรามีเพื่อนที่ไปประจำตามนิคมอุตสาหกรรมหรือโรงปูนมากขึ้น คนในก็เรียกเพื่อนผู้หญิงเราว่ ” ปิยนุชกล่าวานายช่าง ทุกคนทำงานให้เกียรติซึ่งกั นและกัน โดยไม่มีอคติทางเพศเข้ามาเป็นอุ ปสรรคเลย จึงอาจบอกได้ว่า สังคมไทยมีพลวัฒน์ต่อการเปิดกว้ างทางเพศในสนามแรงงานมากขึ้น ซึ่งถือเป็นแนวโน้มที่น่ าสนใจอย่างยิ่ง
นอกจากการเปิดกว้างในสนามแรงงานแล้ว การสร้างสภาพแวดล้อมภายในองค์ กรที่เอื้อต่อการเติบโตของผู้ หญิงก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ สำคัญ อย่างที่ดีแทคนั้นมี นโยบายลาคลอด 6 เดือนโดยยังได้รับเงินเดือนเต็ มจำนวน ทำให้พนักงานหญิงนั้นสามารถรั กษาสมดุลระหว่างบทบาทความเป็ นแม่และความสำเร็จในการทำงาน
“การมีสมาชิกที่มีความหลากหลายอยูในทีม ทำให้เราสามารถใช้จุดแข็ Inclusive innovation) และเข้าใจความต้องการลูกค้าอย่งของสมาชิกแต่ละคนได้และเกิดเป็ นภาพความลงตัวพอดี นำไปสู่การสร้างนวัตกรรมที่ ตอบโจทย์ทุกคน ( างแท้จริง ” ปิยนุชทิ้งทาย