ซึ่งจุดเด่นของ Wi-Fi HaLow หรือ IEEE 802.11ah มีระยะการส่งสัญญาณมากกว่า Wi-Fi ปกติสูงถึง 100 เท่า รองรับอุปกรณ์สูงสุด 8000 ชิ้น ต่อ 1 AP โดยใช้คลื่นความถี่รูปแบบ sub-gigahertz โดยใช้พลังงานต่ำ โดยเน้นการใช้คลื่น
โดยการเคลื่อนไหวของคลื่น Wi-Fi HaLow หรือ IEEE 802.11ah มีจุดเริ่มต้นตั้งแต่ช่วง 2559 เป็นต้นมาโดยวางตำแหน่งระบบนี้เพื่อรองรับ IoT เป็นจำนวนมากและเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งต้องจับมือกับผู้ผลิตอุปกรณ์ IoT ให้ติดตั้งชิปเซ็ตให้รองรับระบบ HaLow
โดยปี 2562 จะต้องวางตำแหน่งของ Wi-Fi HaLow ให้แตกต่างกับ Wi-Fi 6 เนื่องจาก Wi-Fi6 ถือเป็นผู้นำตลาดที่ใหญ่ของเทคโนโลยี Wi-Fi
การส่งข้อมูลจะทำการส่งข้อมูลด้วยจำนวน สูงถึง Mbits / s ในระยะทางหลาย 10 เมตรถึง 1 กิโลเมตร ซึ่งมีระยะห่างจากคลื่น ultra-low-power and -cost LoRa และ Sigfox ซึ่งเป็นเทคโนโลยีคู่แข่ง โดยตัวซิบใช้ขนาด 40-nm processes รองรับคลื่น 900 MHz ที่ใช้งานได้โดยไม่ต้องมีใบอนุญาต
สำหรับประเทศไทย กสทช. มีมติเห็นชอบให้ใช้คลื่นความถี่ย่าน 920-925 MHz เพื่อรองรับเทคโนโลยี Internet of Things (IoT)
ข้อมูล wifinowevents eetasia eetimes nbtc tech.nikkeibp