21 พ.ย. 2564 893 0

ทำไมจึงเกิด “อภิมหาการลาออก” และนายจ้างสามารถดึงดูดทาเลนต์เหล่านี้ได้อย่างไร

ทำไมจึงเกิด “อภิมหาการลาออก” และนายจ้างสามารถดึงดูดทาเลนต์เหล่านี้ได้อย่างไร

อภิมหาการลาออก เป็นชื่อที่ไม่เป็นทางการของกระแสการลาออกที่แพร่หลายของคนจำนวนมากในช่วงการระบาดของ COVID-19 หรือเรียกว่าการลาออกครั้งใหญ่ (บิ๊กควิท) ซึ่งโดยปกติแล้วอภิมหาการลาออก มักถูกกล่าวเชื่อมโยงถึงแรงงานสหรัฐฯ แต่ปรากฏการณ์ครั้งนี้เป็นเรื่องของทั่วโลก

จากข้อมูลของสำนักงานสถิติแรงงานสหรัฐอเมริกา1 ชาวอเมริกันกว่า 4 ล้านคนลาออกจากงานในเดือนกรกฎาคม 2564 และในเดือนเมษายนเป็นเดือนที่มีการลาออกสูงสุดและยังคงสูงอย่างผิดปกติในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา ยังมีระบุอีกว่าปลายเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา มีตำแหน่งงานว่างที่ทำลายสถิติกว่า 10.9 ล้านตำแหน่ง ผู้คนออกจากงานเพื่อต้องการหาเงิน มีความยืดหยุ่น และมีความสุขที่มากขึ้น นี่เป็นเพียงจุดเริ่มต้น และแนวโน้มนี้กำลังเร่งก่อตัวขึ้นในขณะที่ยังคงมีโรคระบาดอยู่

ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและโซเชียลมีเดีย ทำให้พนักงานสามารถค้นหาตำแหน่งงานใหม่ ๆจากทั่วโลกได้ง่ายกว่าที่เคย ความแพร่หลายที่เพิ่มขึ้นของการทำงานทางไกล ทำให้ในบางกรณี พนักงานจะไม่จำเป็นต้องย้ายที่อยู่เพื่อเริ่มงานใหม่อีกต่อไป

เก็ทลิงส์ (GetLinks) หนึ่งในแพลตฟอร์ม HR-tech (และแพลตฟอร์มเพื่อการลงทุนร่วมสร้างธุรกิจใหม่) ที่เติบโตเร็วที่สุดในเอเชีย และได้ช่วยเปิดโอกาสให้กับกลุ่มทาเลนต์ทางด้านเทคโนโลยีสู่งานใหม่ๆ มาแล้วทั่วเอเชีย ประกาศเปิดตัวชุดเอกสารข้อมูล(ไวท์เปเปอร์) เก็ทลิงส์ เครือข่ายและข้อมูลต่างๆสำหรับรูปแบบการกระจายค่าตอบแทนให้แก่บรรดาทาเลนต์แบบไร้ตัวกลาง  และการสำรวจจากการเพิ่มขึ้นของเครือข่าย Web 3.0 และโมเดลกระจายค่าตอบแนทางเศรษฐกิจ


เอกสารข้อมูล (ไวท์เปเปอร์) กล่าวถึงปัญหาที่มีอิทธิพลต่อพนักงานและวิธีการกำหนดการทำงานในช่วงการระบาดใหญ่ ซึ่งปัจจุบันทาเลนต์สามารถเลือกงานที่เหมาะสมกับความสามารถและความต้องการของทาเลนต์เอง ซึ่งไม่เหมือนกับอดีตที่ผ่านมาอีกต่อไป เนื่องจากว่าเหล่าทาเลนต์พยายามค่าตอบแทนที่เป็นธรรมแก่ตัวพวกเขา

คีแนน กวอก ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้งเก็ทลิงส์ กล่าวการนำบล็อคเชนมาใช้เพื่อการตรวจสอบและยืนยันเรซูเม่ ยังไม่สามารถแก้ไขรูปแบบของงานในท้องตลาดได้ทั้งหมด เว้นแต่ว่าเราต้องการค้นหาจุดที่ด้อยของทาเลนต์เพื่อที่จะแก้ไข ก็คือเงินเงินและระบบนิเวศที่ให้บริการไม่ได้มีการปรับให้เหมาะสมเนื่องจากตัวกลางของเว็บเป็นรูปแบบศูนย์รวมและต้นทุนการทำธุรกรรมที่สูง รวมถึงข้อมูลของทาเลนต์และทรัพยากรบุคคลจำนวนมหาศาลที่เรารวบรวมได้จากทั่วเอเชียพิสูจน์ให้เห็นว่าเงินที่จ่ายและหามาได้มักจะห่างไกลจากจำนวนที่ "ยุติธรรม" ภายใต้ระบบของบล็อคเชน

GetLinks.io คือ เครือข่ายกระจายค่าตอบแทนแบบไร้ตัวกลางที่ช่วยกระจายความเสี่ยงของเงินสดที่ใช้อยู่ทั่วไปด้วยระบบที่ใช้ได้แบบไร้พรมแดน สามารถแลกเปลี่ยน และเชื่อมต่อ API กับธนาคารดิจิทัลได้ สร้างเป็นมาร์เก็ตเพลสจากอัลกอริธึ่มที่ควบคุมโดยผู้ใช้งานทุกคน ผู้ใช้งานบนเครือข่ายทั้งหมดจะได้รับการตอบแทนเมื่อมีส่วนร่วมในการสร้างเครือข่ายนี้ให้เติบโต ซึ่งจะกลายเป็นเป้าหมายร่วมกันของทุกคนในที่สุด

เก็ทลิงส์ เป็นเจ้าของ LINKS Token เอง ซึ่งขับเคลื่อนระบบนิเวศแบบกระจายค่าตอบแทบทั้งหมดและสร้างแรงจูงใจให้แก่ทุกภาคส่วนในการขยายเครือข่าย การแลกเปลี่ยน LINKS Token ขึ้นอยู่กับกิจกรรมทางธุรกรรมที่สร้างขึ้นโดยนายจ้าง ทาเลนต์ และนักลงทุนรวมไปถึงหุ้นส่วน ดังนั้นทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องจึงมีความยืดหยุ่นและหลากหลายมากขึ้นในสภาพแวดล้อมการทำงานและรูปแบบค่าตอบแทน ในขณะที่ ผู้ที่ไม่ได้ใช้แพลตฟอร์มนี้คงต้องพยายามดิ้นรนในการดึงดูดทาเลนต์กันต่อไป


สำหรับผู้ที่สนใจจอง LINKS Token ล่วงหน้า สามารถติดตามข่าวสารได้ตามช่องทางต่อไปนี้


เว็บไซต์: www.getlinks.io

คอมมูนิตี้ Telegram LINKS Token: https://t.me/LinksToken

อีเมล: links@getlinks.com 

Twitter: https://twitter.com/Linkstoken

Facebook (GetLinks): https://www.facebook.com/GetLinksInc

Facebook (LINKS Token): https://www.facebook.com/LinksToken 

Medium: https://medium.com/@linkstoken

 

เกี่ยวกับเก็ทลิงส์

เก็ทลิงส์ คือ เครือข่ายดิจิทัลของเหล่าทาเลนต์ชั้นนำในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเขต Greater Bay Area  ของจีน ที่มุ่งสนับสนุนให้บริษัทต่างๆ สามารถสร้าง จัดการ และสร้างแรงจูงใจให้กับทีมเทคหรือดิจิทัลของตนได้ ไม่ว่าจะเป็นทีมงานประจำ ทีมโปรเจคต์ ฟรีแลนซ์ และทีมที่ทำงานในรูปแบบนอกสำนักงาน โดยเก็ทลิงส์ยังมีโซลูชั่นฟินเทคครบวงจร สำหรับนายจ้างและกลุ่มทาเลนต์ที่ช่วยให้การให้ค่าตอบแทน หารายได้ และให้รางวัลหรือสิทธิพิเศษเป็นไปได้ดีขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น เก็ทลิงส์ได้รับเงินลงทุนจาก SCG และ InnoSpace ในไทย และ SEEK บริษัท HR-Tech ที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้ง อาลีบาบา 500 Startups กลุ่ม CyberAgent และกลุ่มลงทุนอื่นๆ อีกมากมาย